ประวัติ Intel/AMD/Apple A4
ประวัติ Intel
หลัง จากที่ Intel ออกCPU สำหรับอุปกรณ์พกพาในชื่อว่า Atom ไปเรียบร้อยแล้วนั้น กระแสก็ออกมาแรงเห็นๆ ทั้งกลุ่มผู้ผลิตมากมายก็เจาะตลาดขาย Netbook กันอย่างล้นหลาม Intel นั้นมีตำนานในการผลิต Microprocessor ตั้งแต่ใช้ในเครื่องคิดเลข และพัฒนาต่อยอดขึ้นมาอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งทำให้เห็นว่าศักยภาพของการพัฒนาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนั้น ทำให้เราได้ใช้เทคโนโลยีอย่างไร้ขีดจำกัด อยู่ที่ว่าเงินในกระเป๋าเราจะมีแค่ไหน ที่นี่เรามาย้อนดูวิวัฒนาการตั้งแต่ ปี 1971 จนถึงปัจจุบันกัน
1971 : 4004 Microprocessor รุ่นแรกของ Intel ใช้งานในเครื่องคิดเลข
1972 : 8008 Microprocessor รุ่นที่พัฒนาต่อมา ใช้งานแบบ "TV typewriter" กับ dump terminal
1974 : 8080 Microprocessor รุ่นนี้เป็นการใช้งานแบบ Personal Computer รุ่นแรก ๆ
1978 : 8086-8088 Microprocessor หรือรุ่น XT ยังเป็นแบบ 8 bit เป็น PC ที่เริ่มใช้งานจริงจัง
1982 : 80286 Microprocessor หรือรุ่น AT 16 bit เริ่มเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานแพร่หลายกันแล้ว
1985 : 80386 Microprocessor เริ่มเป็น CPU 32 bit และสามารถทำงานแบบ Multitasking ได้
1989 : 80486 Microprocessor เข้าสู่ยุคของการใช้จอสี และมีการติดตั้ง Math-Coprocessor ในตัว
1972 : 8008 Microprocessor รุ่นที่พัฒนาต่อมา ใช้งานแบบ "TV typewriter" กับ dump terminal
1974 : 8080 Microprocessor รุ่นนี้เป็นการใช้งานแบบ Personal Computer รุ่นแรก ๆ
1978 : 8086-8088 Microprocessor หรือรุ่น XT ยังเป็นแบบ 8 bit เป็น PC ที่เริ่มใช้งานจริงจัง
1982 : 80286 Microprocessor หรือรุ่น AT 16 bit เริ่มเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานแพร่หลายกันแล้ว
1985 : 80386 Microprocessor เริ่มเป็น CPU 32 bit และสามารถทำงานแบบ Multitasking ได้
1989 : 80486 Microprocessor เข้าสู่ยุคของการใช้จอสี และมีการติดตั้ง Math-Coprocessor ในตัว
รุ่นแรกๆ ทาง Intel ใช้ชื่อรุ่นเป็นรุ่นของ CPU
นั้นๆเลยจึงเกิดการเลียนแบบเทคโนโลยีกันขึ้นโดยค่ายอื่นได้ผลิตเทคโนโลยีตาม
หลังIntelมาเรื่อยๆ ต่อมาทาง Intel ได้ใช้ชื่อ Pentium แทน 80486
เนื่องจากการที่ ชื่อสินค้าที่เป็นตัวเลขกฏหมายไม่ยอมให้จดลิขสิทธิ์
จึงเป็นที่มาของชื่อ Platform ต่างๆ
1993 : Pentium Processor ยุคแรกที่ Intel ใช้ชื่อว่า Pentium
1995 : Pentium Pro Processor สำหรับเครื่อง Server และ Work Station โดยต่อมาได้ผลิตเทคโนโลยี
MMX และทำเป็น Intel MMX
1997 : Pentium II Processor รวมเ Technology ของ Pentium Pro คือ มี cache ระดับ 2 รวมอยู่บน
package เดียวกับ CPU กับ Technology MMX ไว้ด้วยกัน แล้วทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน
1998 : Pentium II Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
1999 : Celeron(TM) Processor สำหรับตลาดระดับล่างของ Intel ที่ตัดความสามารถบางส่วนออก เพื่อลด
ต้นทุนการผลิต และ สามารถขายได้ในราคาที่ถูกกว่า Pentium II มาก แต่ถึงแม้ Celeron ที่ออกมา
นั้น จะใช้ในงานด้าน เล่นเกมส์ได้ดี แต่กลับงานประเภท office application กลับทำได้แย่กว่า หรือ
พอพอกับ Pentium MMX
1999 : Pentium III Processor เพิ่มชุดคำสั่งที่ช่วยประมวลผลในด้านต่างๆไปใหม่ ในลักษณะของ MMX
1999 : Pentium III Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
2001 : Pentium 4 Processor มีเทคโนโลยี HT ทำให้การใช้งานทีละหลายโปรแกรมได้ดีขึ้น
2003 : Pentium M ส่วนใหญ่ใช้ใน mobile technology เนื่องจากใช้กำลังไฟฟ้าน้อย
2005 : Pentium D มีการใช้สถาปัตยกรรมแบบ Multi-core เพิ่มเข้ามาโดยมี2 coreแต่ละ core จะเป็นอิสระ
ต่อกัน
2006 : Intel Core duo นี่แหละครับพระเอกของเรา ต่างกับ Pentium D ตรงที่มีการแชร์ 2 core ด้วยกัน
(dual core)
1995 : Pentium Pro Processor สำหรับเครื่อง Server และ Work Station โดยต่อมาได้ผลิตเทคโนโลยี
MMX และทำเป็น Intel MMX
1997 : Pentium II Processor รวมเ Technology ของ Pentium Pro คือ มี cache ระดับ 2 รวมอยู่บน
package เดียวกับ CPU กับ Technology MMX ไว้ด้วยกัน แล้วทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน
1998 : Pentium II Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
1999 : Celeron(TM) Processor สำหรับตลาดระดับล่างของ Intel ที่ตัดความสามารถบางส่วนออก เพื่อลด
ต้นทุนการผลิต และ สามารถขายได้ในราคาที่ถูกกว่า Pentium II มาก แต่ถึงแม้ Celeron ที่ออกมา
นั้น จะใช้ในงานด้าน เล่นเกมส์ได้ดี แต่กลับงานประเภท office application กลับทำได้แย่กว่า หรือ
พอพอกับ Pentium MMX
1999 : Pentium III Processor เพิ่มชุดคำสั่งที่ช่วยประมวลผลในด้านต่างๆไปใหม่ ในลักษณะของ MMX
1999 : Pentium III Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
2001 : Pentium 4 Processor มีเทคโนโลยี HT ทำให้การใช้งานทีละหลายโปรแกรมได้ดีขึ้น
2003 : Pentium M ส่วนใหญ่ใช้ใน mobile technology เนื่องจากใช้กำลังไฟฟ้าน้อย
2005 : Pentium D มีการใช้สถาปัตยกรรมแบบ Multi-core เพิ่มเข้ามาโดยมี2 coreแต่ละ core จะเป็นอิสระ
ต่อกัน
2006 : Intel Core duo นี่แหละครับพระเอกของเรา ต่างกับ Pentium D ตรงที่มีการแชร์ 2 core ด้วยกัน
(dual core)
2006 : Intel Core 2 Duo รองรับชุดคำสั่ง 64 bit และยังประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วย
2006 : Intel Core 2 Extreme QX6700 คือ มี 4 core
2006 : Yorkfield คือ 8 core
2006 : Intel Core 2 Extreme QX6700 คือ มี 4 core
2006 : Yorkfield คือ 8 core
ประวัติ AMD
แอด
วานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc. หรือ เอเอ็มดี เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน
ก่อตั้งเมื่อ ปี ค.ศ. 1969 โดยพนักงานเก่าจากบริษัท Fairchild
Semiconductor โดย เอเอ็มดี ผลิตสินค้าเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์
มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นผู้พัฒนา ซีพียู
และเทคโนโลยีต่างๆ ออกสู่ตลาด และ
ผู้ใช่ทั่วไป.โดยที่สินค้าหลักของบริษัทคือ
ไมโครโพรเซสเซอร์,เมนบอร์ดชิปเซ็ต,การ์ดแสดงผล,ระบบฟังตัว
สำหรับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์,คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และ ระบบฝังตัวต่าง
โดยที่ผลิตภัณฑ์ของเอเอ็มดีที่เป็นที่รู้จักได้แก่ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูล
APU,Phenom II,Athlon II, Sempron, บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล APU
Mobile,Duron, Turion,ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา Opteron, สำหรับเซิร์ฟเวอร์
และชิปกราฟิก Readeon
เอ
เอ็มดีนับเป็นคู่แข่งที่สำคัญของอินเทลในตลาดไมโครโพรเซสเซอร์
และมีคดีความฟ้องร้องกันอยู่ในหลายประเทศ เรื่องอินเทลผูกขาดการค้า
ปัจจุบันได้ทำการยอมความกันไปแล้ว
ตระกูลชิปประมวลที่เลิกผลิตไปแล้ว
AMD 8086, AMD 80286, AMD 80386, AMD Am486
AMD K5
AMD K6
AMD K6-2
Sharptooth (K6-II)
AMD K6-II+
AMD Argon
AMD Duron
AMD Thunderbird
AMD Athlon / AMD K7
AMD64 / AMD K8
AMD Phenom
ตระกูลชิปที่อยู่ในสายการผลิตปัจจุบัน
AMD Sempron เป็นหน่วยประมวลผลแบบ 64 บิต บนซ็อคเกต A, 754, 939 ซ็อคเก็ต AM2 ซ็อคเก็ต AM3 สำหรับเครื่องพีซีราคาประหยัด
AMD
FX เป็นหน่วยประมวลผล 4-8 คอร์ตระกูล AMD Bulldozer/Zambezi บนซ็อกเก็ต
AM3+ มีการลดขนาดคอร์ลงจาก Phenom II ลง และได้มีการนำระบบโมดูล(Module)
มาใช้ ซึ่ง 1 โมดูลจะมี 2 คอร์ขนาดเล็กที่ใช้แคชร่วมกัน
นอกจากนั้นยังใส่ชุดคำสั่งใหม่เข้าไปเป็นจำนวนมาก
AMD A-Series เป็นหน่วยประมวล 2-4 คอร์ตระกูล AMD Llano บนซ็อคเก็ต FM1 โดยจะมีระบบกราฟิกในตัวซีพียูด้วย
AMD Fusion E/C-Series เป็นหน่วยประมวลผล 2 คอร์ โดยจะเป็นแบบฝังติดกับเมนบอร์ดทั้งโน้ตบุ๊คและเดสก์ทอป เน้นความประหยัดไฟ
โดยจะมีระบบกราฟิกในตัวซีพียูด้วย
AMD Athlon II X2-AMD Athlon II X4 เป็นหน่วยประมวลผลชนิดแกนคู่-สี่แกน อยู่บนซ็อคเก็ต AM3 และจะเริ่มย้าย
มาลงซ็อคเก็ต FM1 ด้วยสำหรับใช้งานในตลาดทั่วไป โดยเป็นรุ่นที่มีพื้นฐานบนสถาปัตยกรรม Phenom
AMD Opteron เป็นหน่วยประมวลผลสำหรับเซิรฟเวอร์หรือเวิร์กสเตชัน
AMD
Phenom II X4 เป็นหน่วยประมวลผลตระกูล Deneb
ซึ่งออกจำหน่ายในช่วงไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2553 โดยมีเทคโนโลยี HyperTransport
3.0, ซ็อคเก็ต AM3 และ การมีหน่วยความจำระดับ 3 L3 cacheภายในตัวซีพียู
AMD
Phenom II X6 เป็นหน่วยประมวลผลตระกูล Thuban
ซึ่งออกจำหน่ายในช่วงไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2553 โดยมีเทคโนโลยี HyperTransport
3.0, ซ็อคเก็ต AM3 และ การมีหน่วยความจำระดับ 3 L3 cacheภายในตัวซีพียู ,
AMD Turbo CORE Technology
ตระกูลชิปที่อยู่ในช่วงกำลังพัฒนา
AMD Fusion CPU+GPU ซึ่งเป็นความหวังของค่าย AMD
ประวัติ Apple A4
A4 ได้เปิดตัว (พร้อมกับ iPad) เมื่อ 27 มกราคม 2553 ในช่วงที่ Apple กำลังสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกมามากมาย
7 มิถุนายน 2553 สตีฟ จ๊อบส์ ประกาศยืนยันในที่สาธารณะว่า
iPhone 4 จะมี A4 Processor ถึงแม้ว่าช่วงนั้น A4
จะไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายนัก แต่มันก็มีช่วงความถี่เดียวกันกับ
iPad ความกว้างของบัสหรือแคชที่เหมือนกับ A4 ที่พบก่อนหน้าที่จะผลิต iPad
1 กันยายน 2553 iPod Touch และ AppleTV มีการปรับปรุงเพื่อให้ใช้ได้กับ A4 Processor
จุดกำเนิดของ A4 เริ่มต้นในปี 2548
จากความรู้ดั้งเดิมที่เรียกว่า PA Semiconductor จากฟอรัม 2005 Fall
Processor โดย PA Semiconductor แสดงวิสัยทัศน์สำหรับสถาปัตยกรรม Soc Power
PC, The G5-Derived PWR ficient family ซึ่งเป็นชื่อโดยนัย
ให้ความสำคัญกับการออกแบบที่มีประสิทธิภาพสูงแบบมัลติคอร์ชิป PowerPC
ที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับอุปกรณ์มือถือและในปีเดียวกัน
มีโครงการที่ผู้บริหาร Tim Cook เรียกว่า “the mother of all thermal
challenges” โดยการใส่โปรเซสเซอร์ G5 ลงในPowerBook เครื่องโน๊ตบุ๊คของ
IBM ไม่เคยถูกทำขึ้นเพื่อรองรับ G5 นั่นคือผลลัพธ์จากการทิ้ง Apple
โดยไม่มีอะไรติดมือไป นอกจากPowerPC G4 ชิปแบบเก่า Apple
ชิงไหวชิงพริบด้วยการใช้เทคโนโลยีของตนเอง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า Apple
ได้มองหาแนวทางแก้ไขไว้อยู่แล้ว
มันเป็นสถานการณ์ที่น่ากลัวที่ Apple
ทิ้งข้อสังเกตุเกี่ยวกับ PA Semi ไว้ และทั้งสอง
ได้กลายเป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิด ในแผนอนาคตฮาร์ดแวร์ของ Power PC ของ Mac
ต่อมาก็เป็นเวรเป็นกรรมของ Apple ที่ WWDC 2005 ประกาศว่าได้สลับไปยัง
Intel แล้วในขณะนี้ ความคืบหน้าความสัมพันธ์ในอนาคตระหว่าง Apple และ PA
Semi จึงได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
แต่วิศวกร 150 คนของ PA Semi
ยังคงส่งต่อพันธกิจตามสัญญาของพวกเขา สมาชิกแต่เพียงผู้เดียวของครอบครัว
PWRficient ได้เปิดตัวในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
เริ่มต้นในการเป็นบริษัทคู่ค้าที่ใกล้ชิดที่สุด
ตามมาด้วยการเปิดกว้างในภายหลังในปีนั้น มันเติบโตอย่างมาก
เป็นชุดที่มีรายละเอียดที่น่าสนใจ คือ ประกอบด้วย G5 2 ตัว ขนาด 64 - bit
PowerPC กับตัวควบคุมหน่วยความจำ DDR2 อีก 2 ตัวบนชิปตัวเดียว
มันวิ่งที่ความถี่ 2.0 GHz กับค่าเฉลี่ย 13 วัตต์ และจุดสูงสุดอยู่ที่ 25
วัตต์ ในขณะเดียวกันมากกว่าของ Intel แบบดั้งเดิมที่ออกแบบ Merom Core 2
Duo LV L7700 – การแข่งขันที่สูสีที่สุดในเวลานั้น
อย่างเดียวคือสามารถทำงานที่ 1.8 GHz กับพลังงานสูงสุดที่ 17 วัตต์
ต้นปีถัดมา Apple มีการสั่งซื้อ PA Semi อย่างเงียบๆ
ในปริมาณมากเพื่อเก็งกำไร ที่ Apple
ได้เจตนาที่จะนำความสามารถใหม่ที่ได้มาใช้ในการทำงานบนชิปสำหรับผลิตมือถือ
ในอนาคตเช่น iPods และ iPhones ซึ่งตอนนั้น Apple
ดำเนินการได้เงียบมากจนกระทั่งมีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ Hot Hot
อย่างที่เห็นกันในปัจจุบัน
ที่มา : http://iam.hunsa.com/pjcomputer/article/22310
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น